ประวัติ รัชกาลที่ 9 (ร.9)
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพล อดุลยเดช ( 09/06/2489 – ปัจจุบัน )
รัชกาลที่ 9 มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 3
นสมเด็จ พระมหิตลาธิเบศร์อดุลยเดชวิกรมพระบรมราชชนก ( กรมหลวงสงขลานครินทร์ ) และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ( สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ )
ประสูติเมื่อวันจันทร์ที่ 5 ธันวาคม 2470 ณ เมืองเคมบริดจ์ มลรัฐแมสซาจูสตต์ ประเทศสหรัฐอเมริกา
พ.ศ. 2471 ได้ตามเสด็จสมเด็จพระบรมชนกนาถกลับมาประทับในประเทศไทย
พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมชนกนาถสิ้นพระชนม์
พ.ศ. 2475 ได้เข้าศึกษา ณ โรงเรียนมาแตร์เดอี ถนนเพลินจิต กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2476 ได้เดินทางไปศึกษาระดับประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโรซานน์ณ ประเทศ
สวิตเซอร์แลนด์
พ.ศ. 2477 ได้ตามเสด็จพระเชษฐาธิราช กลัมมาเมืองไทย เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันท
มหิดล เสด็จขึ้นเสวยราชสมบัติ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าภูมิ
พลอดุลยเดช เมื่อเดือนกรกฎาคม 2478ต่อมาทรงย้ายโรงเรียนมาศึกษาต่อ ณ โรงเรียนนู
แวลล์ เดอ ลาซูอิสส์ โรมองค์ เมืองโรซานน์
พ.ศ. 2481 ได้เสด็จกลับเมืองไทยพร้อมพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ประทับอยู่ในราช
อาณาจักรประมาณ 2 เดือน จึงเสด็จไปศึกษาต่อ และเสด็จกลับมาเมืองไทย เมื่อ 5
ธันวาคม 2488
10 พฤษภาคม 2489
พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมชนกนาถสิ้นพระชนม์
พ.ศ. 2475 ได้เข้าศึกษา ณ โรงเรียนมาแตร์เดอี ถนนเพลินจิต กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2476 ได้เดินทางไปศึกษาระดับประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโรซานน์ณ ประเทศ
สวิตเซอร์แลนด์
พ.ศ. 2477 ได้ตามเสด็จพระเชษฐาธิราช กลัมมาเมืองไทย เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันท
มหิดล เสด็จขึ้นเสวยราชสมบัติ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าภูมิ
พลอดุลยเดช เมื่อเดือนกรกฎาคม 2478ต่อมาทรงย้ายโรงเรียนมาศึกษาต่อ ณ โรงเรียนนู
แวลล์ เดอ ลาซูอิสส์ โรมองค์ เมืองโรซานน์
พ.ศ. 2481 ได้เสด็จกลับเมืองไทยพร้อมพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ประทับอยู่ในราช
อาณาจักรประมาณ 2 เดือน จึงเสด็จไปศึกษาต่อ และเสด็จกลับมาเมืองไทย เมื่อ 5
ธันวาคม 2488
10 พฤษภาคม 2489
ได้รับการแต่งตั้ง เป็นนายทหารพิเศษ ยศร้อยโท ประจำกรมทหารราบที่ 1 กองพันที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์
8 มิถุนายน 2489 เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติเป็นรัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี ขณะมีพระชนมายุ 19 พรรษา ทรงมีพระปรมาภิไธยย่อว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามมินทราธิราช บรมนาถบพิตร
28 เมษายน 2493 ทรงประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกสมรส กับ ม.ร.ว. หญิง สิริกิติ์ สิริยากร
5 พฤษภาคม 2493 ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก
ทรงมีพระราชโอรสและพระราชธิดาดังนี้
1. สมด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตน์ราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี
2. สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าวชิราลงกรณ์
3. สมด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธร
4. สมด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วไลลักษณ์
1. สมด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตน์ราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี
2. สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าวชิราลงกรณ์
3. สมด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธร
4. สมด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วไลลักษณ์
พระราชลัญจกร เป็นรูปพระที่นั่งอัฐทิศ
ประกอบด้วยวงจักร มีอักษร อุ หรือเลข ๙ อยู่กลางวงจักร รอบวงจักรมีรัสมีเปล่งออกโดยรอบ มีรูปเศวตฉัตรเจ็ดชั้น อยู่เหนือจักรฉัตรตั้งอยู่บนพระที่นั่งอัฐทิศ
หมายถึง ทรงมีพระบรมเดชา นุภาพในแผ่นดิน
ประกอบด้วยวงจักร มีอักษร อุ หรือเลข ๙ อยู่กลางวงจักร รอบวงจักรมีรัสมีเปล่งออกโดยรอบ มีรูปเศวตฉัตรเจ็ดชั้น อยู่เหนือจักรฉัตรตั้งอยู่บนพระที่นั่งอัฐทิศ
หมายถึง ทรงมีพระบรมเดชา นุภาพในแผ่นดิน
ด้านการปกครอง
นายปรีดี พนมยงค์
ได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ครั้งที่ 3 เมื่อ 11 มิถุนายน 2489 ลาออกเมื่อ 21 สิงหาคม 2489 เนื่องจากสุขภาพเสื่อมโทรม
23 สิงหาคม 2489 พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี มีการเปลี่ยนชื่อพฤฒิสภาเป็นวุฒิสภา กำหนดให้สมาชิกวุฒิสภามาจากการแต่งตั้ง พ้นจากตำแหน่งเมื่อ 8 พฤศจิกายน 2490 เพราะทหารทำการรัฐประหาร การรัฐประหารในครั้งนี้คณะทหารให้เหตุผลว่าทำเพื่อพระมหากษัตริย์ที่ถูกลอบ ปลงพระชนม์และเพื่อประชาชนชาวไทย
10 พฤศจิกายน 2490 นายควง อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรีครั้งที่ 3 เป็นเวลา 3 เดือน ลาออกเมื่อ 8 เมษายน 2491 เนื่องจากถูกรัฐประหาร
8 เมษายน 2491 จอมพล ผิน ชุณหะวัณ เชิญ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี นาน 10 ปี
เกิดกบฏวังหลวง เมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2492 เกิดกบฏแมนฮัดตัน เมื่อ มิถุนายน 2494
เกิดกบฏวังหลวง เมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2492 เกิดกบฏแมนฮัดตัน เมื่อ มิถุนายน 2494
16 กันยายน 2500 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ทำการรัฐประหาร ยุบสภา
21 กันยายน 2500 นายพจน์ สารสิน เป็นนายกรัฐมนตรี ลาอกเมื่อ 26 ธันวาคม 2500 เพราะมีการเลือกตั้งทั่วไปภายหลังรัฐประหาร
1 มกราคม 2501 พลโท ถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี ลาออกเมื่อ 20 ตุลาคม 2501 เพื่อเปิดโอกาสให้จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ทำการปฏิวัติ
9 กุมภาพันธ์ 2502 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และถึงแก่อนิจกรรม ขณะดำรงตำแหน่ง เมื่อ 8 ธันวาคม 2506
9 ธันวาคม 2506 พลเอกถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี ลาออกหลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับที่ 8 และสมาชิกชุดใหม่เข้ารับหน้าที่แล้ว ต่อมากลับเข้าดำรงตำแหน่งครั้งที่ 3 เมื่อ 7 มีนาคม 2512 และทำการปฏิวัติตัวเองเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2514 กลับเข้าดำรงตำแหน่งครั้งที่ 4 เมื่อ 18 ธันวาคม 2515 พ้นจากตำแหน่งเมื่อ 14 ตุลาคม 2516 เนื่องจากเหตุการณ์จราจล
14 ตุลาคม 2516 นายสัญญา ธรรมศักดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี พ้นจากตำแหน่ง เมื่อ 26 มกราคม 2518 เพราะมีการเลือกตั้งทั่วไป พรรคประชาธิปัตย์ได้คะแนนเสียงมากที่สุด ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช จึงจัดตั้งรัฐบาล แต่ไม่ได้รับความไว้วางใจเมื่อแถลงนโยบายต่อรัฐสภา ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้รวบรวมสมาชิกพรรคอื่น จัดตั้งรัฐบาลผสม ซึ่งมีสมาชิกของพรรคกิจสังคมในสภาเพียง 18 เสียง 14 มีนาคม 2518 ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี มีการประท้วงและเรียกร้อง
ของกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ มากมาย เกิดการขัดแย้งกันในคณะรัฐบาล นายกรัฐมนตรีจึงประกาศ ยุบสภาให้มีการเลือกตั้งใหม่ในเดือนเมษายน 2519
ของกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ มากมาย เกิดการขัดแย้งกันในคณะรัฐบาล นายกรัฐมนตรีจึงประกาศ ยุบสภาให้มีการเลือกตั้งใหม่ในเดือนเมษายน 2519
21 มีนาคม 2519 ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี
6 ตุลาคม 2519 คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ทำการปฏิวัติ มีพลเรือเอกสงัด ชลออยู่เป็นหัวหน้า
22 ตุลาคม 2519 นายธานินทร์ กรัยวิเชียร เป็นนายกรัฐมนตรี รัฐบาลดำเนินนโยบายเข้มงวด ควบคุมความคิดเสรีนิยม มีการนำรูปแบบเผด็จการมาใช้อีก กลุ่มปัญญาชนหนีเข้าป่ามากขึ้น ทำให้สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยมีจำนวนมากขึ้น
มีนาคม 2520 กบฎ 26 มีนาคม โดยพลเอกฉลาด หิรัญศิริ
20 ตุลาคม 2520 พลเรือเอกสงัด ชลออยู่ รัฐประหารอีกครั้งและประกาศให้พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ เมื่อ 22 เมษายน 2522 ในเดือนพฤษภาคม 2522 พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยที่ 2 ต่อมาลาออกเพราะประสบปัญหาน้ำมัน ในตลาดโลกมีราคาแพงส่งผลกระทบให้สินค้ามีราคาสูงขึ้น ค่าครองชีพสูง รัฐบาลไม่สามารถแก้ปัญหาได้ จึงลาออก ในเดือน มีนาคม 2523
พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ได้รับการสนับสนุนจากพรรคการเมืองและฝ่ายทหารให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นาน 8 ปี เศรษฐกิจไทยเจริญก้าวหน้ามีการลงทุนทำธุรกิจในประเทศไทยเพิ่มขึ้น ทำให้เงินตราจากต่างประเทศหลั่งไหลเข้าสู่ประเทศมากขึ้น
1 เมษายน 2524 “กบฎ 1 เมษา” โดยพลเอกสัณห์ จิตรปฏิมา
9 กันยายน 2528 “กบฎ 9 กันยา”
ต่อมามีการจัดให้มีการเลือกตั้ง ในปี 2531 พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
23 กุมภาพันธ์ 2534 สภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ รสช. ทำการปฏิวัติ โดยมีพลเอกสุนทร คงสมพงษ์เป็นหัวหน้าและมอบหมายให้นายอานันท์ ปัญญาชุน เป็นนายกรัฐมนตรีบริหารประเทศชั่วคราวและจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่
22 มีนาคม 2535 มีการเลือกตั้งทั่วไป พรรคที่ได้เสียงข้างมากสนับสนุนให้ พลเอกสุจินดา คราประยูร เป็นนายกรัฐมนตรี สร้างความไม่พอใจให้แก่นิสิต นักศึกษา ประชาชนทั่วไป เพราะพลเอกสุจินดา คราประยูร เป็นบุคคลที่รวมอยู่ในคณะรัฐประหารของ สภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ จึงมีการเดินประท้วงคัดค้านอันนำไปสู่เหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ ระหว่างวันที่ 17-19 พฤษภาคม 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพล อดุลยเดช ได้ขอร้องให้ทุกฝ่ายยุติความขัดแย้งกัน หลังจากนั้น พลเอกสุจินดา คราประยูร ได้ลาออก ประธานรัฐสภาได้เสนอชื่อนายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง และจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่
13 กันยายน 2535 พรรคประชาธิปัตย์ได้เสียงข้างมาก นายชวนหลีกภัยได้เป็นนายกรัฐมนตรี บริหารประเทศได้ 2 ปี ก็เกิดกรณีการจัดสรรที่ดินทำกินแก่ราษฎร และการถอนตัวของพรรคร่วมรัฐบาล ทำให้รัฐบาลประกาศยุบสภา
กรกฎาคม พ.ศ. 2538 มีการเลือกตั้งใหม่ นายบรรหาร ศิลปอาชาได้เป็นนายกรัฐมนตรี เกิดการขัด
แย้งในพรรคร่วมรัฐบาล นายกประกาศยุบสภา
พฤศจิกายน 2539 มีการเลือกตั้งใหม่ พรรคความหวังใหม่ได้รับชัยชนะ พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ
ได้เป็นนายกรัฐมนตรี ประสบปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำอย่างหนัก จึงประกาศลาออก
พฤศจิกายน 2540 นายชวน หลีกภัย หัวหน้าฝ่ายค้านขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จนหมดวาระ
มกราคม 2544 มีการเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ พรรคไทยรักไทยได้คะแนนเสียงมากที่สุด
พต.ท ทักษิณ ชินวัตร ได้เป็นนายกรัฐมนตรีการ ปฏิวัติรัฐประหารที่เกิด ขึ้นสดร้อนๆ บรรยากาศแห่งความอึมครึมเกิดขึ้นตลอดทั้งวันอังคารที่ 19 กันยายน 2549 และนับเป็นการปฏิวัติที่แปลกที่สุดในโลกเมื่อประชาชนพากันโทรศัพท์แจ้งข่าว กันตลอดทั้งวันว่า ทหารจะปฏิวัติ แต่สถานการณ์ก็ยังสับสนว่า ฝ่ายไหนจะเป็นผู้กระทำ จนกระทั่ง
เวลา 22.15 น. กลายเป็นฝ่าย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่ออกอากาศทางช่อง 9 อสมท. ประกาศภาวะฉุกเฉิน รัฐประหารตัวเอง มีคำสั่งปลด พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน ผู้บัญชาการทหารบกออกจากตำแหน่ง พร้อมกับมีคำสั่งให้มารายงานตัวต่อ พล.ต.อ.ชิดชัย วรรณสถิตย์ รักษาการนายกรัฐมนตรี โดยได้แต่งตั้ง พล.อ.เรืองโรจน์ มหาศรานนท์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นผู้รับผิดชอบในสถานการณ์ฉุกเฉิน
เวลา 22.30 น. ทหารจำนวนหนึ่งได้บุกเข้าไปในทำเนียบรัฐบาล พร้อมด้วยรถถังประมาณ 10 คัน และรถฮัมวี่ 6 คัน กระจายกำลังเข้าควบคุมตามจุดต่างๆและให้ตำรวจสันติบาลและสื่อมวลชนออกจาก ทำเนียบรัฐบาล โดยทหารทั้งหมดมีสัญญลักษณ์ปลอกแขนสีเหลือง
เวลา 23.00 น.คณะนายทหารภายใต้การนำของ พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน ผู้บัญชาการทหารทุกเหล่าทัพ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ได้มอบหมายให้ พล.ต.ประพาส ศกุนตนา อ่านคำสั่งคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ฉบับที่ 1 ว่า ได้เข้าควบคุมสถานการณ์ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครไว้ได้หมดแล้ว และไม่ได้มีการขัดขวางจากฝ่ายทหารที่สนับสนุน พ.ต.อ.ทักษิณ ชินวัตร จึงขอประชาชนให้ความร่วมมือ และนับเป็นประกาศคณะปฏิวัติที่สุภาพที่สุดด้วย เมื่อมีท้ายแถลงการณ์ด้วยว่า "ขออภัยในความไม่สะดวกมา ณ ที่นี้ด้วย"
จากนั้นคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ได้ประกาศกฎอัยการศึกและยกเลิกคำสั่งประกาศภาวะฉุกเฉินของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร พร้อมเข้าเฝ้ากราบบังคมทูลรายงานสถานการณ์ต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน
ทั้งนี้มีรายงานว่า หลังจากที่ประชาชนทราบเหตุการณ์ว่า ทหารได้ทำรัฐประหารซ้อนยึดอำนาจจากรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เรียบร้อยแล้ว ประชาชนจำนวนมากได้ออกจากบ้านมาแสดงความยินดี เช่นเดียวกับประชาชนที่ใช้รถสัญจรผ่านไปมาตามเส้นทางที่มีรถถังตั้งอยู่ได้ ลงจากรถมาโบกมือ ไชโยโห่ร้องให้กับทหาร พร้อมทั้งขอถ่ายรูปไว้เป็นที่ระลึก โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวต่างชาตินั้นจะนิยมการถ่ายรูปคู่กับทหารเป็นอย่าง มาก ส่วนสถานการณ์ใกล้กับบ้านจันทร์ส่องหล้าของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร
ในช่วงนั้น ทั้งบริเวณปากซอยจรัญสนิทวงศ์ 69 และ 71 และรวมไปทั้งซอยจรัสลาภ ถนนสิรินธร มีทหารจาก ร.1 พัน 1 รอ.ประมาณ 30 นาย สวมชุดพรางอาวุธครบมือ พร้อมรถยีเอ็มซีจอดอยู่ ได้ตั้งจุดตรวจโดยมีเจ้าหน้าที่ตำรวจร่วมตรวจด้วยอีกซอยละ 2 นาย พร้อมกันไม่ให้ผู้สื่อข่าวเข้าไปด้านใน
จากนั้นคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ได้ออกมาแถลงการณ์ออกมาเป็นระยะๆ ถึงความจำเป็นในการเข้ายึดอำนาจเนื่องจากรัฐบาลพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ได้สร้างความแตกแยกขึ้นในบ้านเมือง มีการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างกว้างขวาง หน่วยงาน องค์กรอิสระ ถูกครอบงำทางการเมือง ไม่สามารถสนองตอบเจตนารมณ์ตามที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ทำให้การดำเนินกิจกรรมทางการเมืองเกิดปัญหาและอุปสรรคหลายประการ ตลอดจนหมิ่นเหม่ต่อการหมิ่นพระบรมเดชานุภาพแห่งองค์พระมหากษัตริย์ผู้ทรง เป็นที่เคารพเทิดทูนของปวงชนชาวไทยอยู่บ่อยครั้ง
นอกจากนั้นคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็น ประมุขได้ประกาศจะให้มีการปฏิรูปการเมืองเกิดขึ้นโดยเร็ว พร้อมเรียกร้องให้นิสิต นักศึกษา ปัญญาชน ซึ่งเป็นพลังบริสุทธิ์ ร่วมเสนอแนวทางการพัฒนาการเมืองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมายังสำนักงานเลขานุการกองทัพบก
แล้วมีการจัดตั้งรัฐบาล โดยมีพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี บริหารประเทศแล้วจัดให้มีการเลือกตั้ง
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2550 ปรากฏว่า
พรรคพลังประชาชน ที่มีนายสมัคร สุนทรเวช เป็นหัวหน้า แม้จะได้รับความนิยมอย่างมาก แต่ก็มีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 233 คน
พรรคประชาธิปัตย์ ที่มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นหัวหน้า ซึ่งมีจำนวน ส.ส.รวมทั้งระบบสัดส่วนและระบบเขตทั้งสิ้น 165 คน ประกาศอยู่ฝั่งตรงกันข้ามกับพรรคพลังประชาชน
พรรคชาติไทย ที่มีนายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นหัวหน้า มี ส.ส. 37 คน
พรรคเพื่อแผ่นดิน ที่มีนายสุวิทย์ คุณกิตติ เป็นหัวหน้า มีจำนวน ส.ส. 24 คน
พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา ที่มี พล.อ.เชษฐา ฐานะจาโร เป็นหัวหน้า มี ส.ส. 9 คน
พรรคมัชฌิมาธิปไตย ที่มีนายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ เป็นหัวหน้า มี ส.ส. 7 คน
พรรคประชาราช ที่มีนายเสนาะ เทียนทอง เป็นหัวหน้า ได้ ส.ส. 5 คน
พรรคพลังประชาชน ประกาศจัดตั้งรัฐบาลผสม ประกอบด้วย พรรคพลังประชาชน พรรคชาติไทย พรรคเพื่อแผ่นดิน พรรครวมใจ พรรคมัชฌิมาธิปไตยและพรรคประชาราช โดยมีนายสมัคร สุนทรเวช เป็น
นายกรัฐมนตรี ภาย หลังศาลรัฐธรรมนูญพิพากษานายสมัคร สุนทรเวช ว่ากระทำขัดต่อกฏหมายรัฐ
ธรรมนูญคดีจัดรายการชิมไปบ่นไป เป็นเหตุให้ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ รองนายกรัฐมนตรี ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี แต่ ถูกต่อต้านจากกลุ่มพันธมิตรเพื่อประชาธิปไตย ขณะเดียวกัน ศาลพิพากษายุบพรรคพลังประชาชน พรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตยแล้ว นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ พ้นจากการเป็นนายกรัฐมนตรี มีการย้ายพรรคของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ขณะเดียวกันสมาชิกของพรรคเพื่อไทยจากพรรคพลังประชาชนเดิม สนับสนุนให้พรรคประชาธิปัตย์จัดตั้งรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้เป็นนายกรัฐมนตรี
6 ตุลาคม 2519 คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ทำการปฏิวัติ มีพลเรือเอกสงัด ชลออยู่เป็นหัวหน้า
22 ตุลาคม 2519 นายธานินทร์ กรัยวิเชียร เป็นนายกรัฐมนตรี รัฐบาลดำเนินนโยบายเข้มงวด ควบคุมความคิดเสรีนิยม มีการนำรูปแบบเผด็จการมาใช้อีก กลุ่มปัญญาชนหนีเข้าป่ามากขึ้น ทำให้สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยมีจำนวนมากขึ้น
มีนาคม 2520 กบฎ 26 มีนาคม โดยพลเอกฉลาด หิรัญศิริ
20 ตุลาคม 2520 พลเรือเอกสงัด ชลออยู่ รัฐประหารอีกครั้งและประกาศให้พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ เมื่อ 22 เมษายน 2522 ในเดือนพฤษภาคม 2522 พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยที่ 2 ต่อมาลาออกเพราะประสบปัญหาน้ำมัน ในตลาดโลกมีราคาแพงส่งผลกระทบให้สินค้ามีราคาสูงขึ้น ค่าครองชีพสูง รัฐบาลไม่สามารถแก้ปัญหาได้ จึงลาออก ในเดือน มีนาคม 2523
พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ได้รับการสนับสนุนจากพรรคการเมืองและฝ่ายทหารให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นาน 8 ปี เศรษฐกิจไทยเจริญก้าวหน้ามีการลงทุนทำธุรกิจในประเทศไทยเพิ่มขึ้น ทำให้เงินตราจากต่างประเทศหลั่งไหลเข้าสู่ประเทศมากขึ้น
1 เมษายน 2524 “กบฎ 1 เมษา” โดยพลเอกสัณห์ จิตรปฏิมา
9 กันยายน 2528 “กบฎ 9 กันยา”
ต่อมามีการจัดให้มีการเลือกตั้ง ในปี 2531 พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
23 กุมภาพันธ์ 2534 สภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ รสช. ทำการปฏิวัติ โดยมีพลเอกสุนทร คงสมพงษ์เป็นหัวหน้าและมอบหมายให้นายอานันท์ ปัญญาชุน เป็นนายกรัฐมนตรีบริหารประเทศชั่วคราวและจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่
22 มีนาคม 2535 มีการเลือกตั้งทั่วไป พรรคที่ได้เสียงข้างมากสนับสนุนให้ พลเอกสุจินดา คราประยูร เป็นนายกรัฐมนตรี สร้างความไม่พอใจให้แก่นิสิต นักศึกษา ประชาชนทั่วไป เพราะพลเอกสุจินดา คราประยูร เป็นบุคคลที่รวมอยู่ในคณะรัฐประหารของ สภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ จึงมีการเดินประท้วงคัดค้านอันนำไปสู่เหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ ระหว่างวันที่ 17-19 พฤษภาคม 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพล อดุลยเดช ได้ขอร้องให้ทุกฝ่ายยุติความขัดแย้งกัน หลังจากนั้น พลเอกสุจินดา คราประยูร ได้ลาออก ประธานรัฐสภาได้เสนอชื่อนายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง และจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่
13 กันยายน 2535 พรรคประชาธิปัตย์ได้เสียงข้างมาก นายชวนหลีกภัยได้เป็นนายกรัฐมนตรี บริหารประเทศได้ 2 ปี ก็เกิดกรณีการจัดสรรที่ดินทำกินแก่ราษฎร และการถอนตัวของพรรคร่วมรัฐบาล ทำให้รัฐบาลประกาศยุบสภา
กรกฎาคม พ.ศ. 2538 มีการเลือกตั้งใหม่ นายบรรหาร ศิลปอาชาได้เป็นนายกรัฐมนตรี เกิดการขัด
แย้งในพรรคร่วมรัฐบาล นายกประกาศยุบสภา
พฤศจิกายน 2539 มีการเลือกตั้งใหม่ พรรคความหวังใหม่ได้รับชัยชนะ พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ
ได้เป็นนายกรัฐมนตรี ประสบปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำอย่างหนัก จึงประกาศลาออก
พฤศจิกายน 2540 นายชวน หลีกภัย หัวหน้าฝ่ายค้านขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จนหมดวาระ
มกราคม 2544 มีการเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ พรรคไทยรักไทยได้คะแนนเสียงมากที่สุด
พต.ท ทักษิณ ชินวัตร ได้เป็นนายกรัฐมนตรีการ ปฏิวัติรัฐประหารที่เกิด ขึ้นสดร้อนๆ บรรยากาศแห่งความอึมครึมเกิดขึ้นตลอดทั้งวันอังคารที่ 19 กันยายน 2549 และนับเป็นการปฏิวัติที่แปลกที่สุดในโลกเมื่อประชาชนพากันโทรศัพท์แจ้งข่าว กันตลอดทั้งวันว่า ทหารจะปฏิวัติ แต่สถานการณ์ก็ยังสับสนว่า ฝ่ายไหนจะเป็นผู้กระทำ จนกระทั่ง
เวลา 22.15 น. กลายเป็นฝ่าย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่ออกอากาศทางช่อง 9 อสมท. ประกาศภาวะฉุกเฉิน รัฐประหารตัวเอง มีคำสั่งปลด พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน ผู้บัญชาการทหารบกออกจากตำแหน่ง พร้อมกับมีคำสั่งให้มารายงานตัวต่อ พล.ต.อ.ชิดชัย วรรณสถิตย์ รักษาการนายกรัฐมนตรี โดยได้แต่งตั้ง พล.อ.เรืองโรจน์ มหาศรานนท์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นผู้รับผิดชอบในสถานการณ์ฉุกเฉิน
เวลา 22.30 น. ทหารจำนวนหนึ่งได้บุกเข้าไปในทำเนียบรัฐบาล พร้อมด้วยรถถังประมาณ 10 คัน และรถฮัมวี่ 6 คัน กระจายกำลังเข้าควบคุมตามจุดต่างๆและให้ตำรวจสันติบาลและสื่อมวลชนออกจาก ทำเนียบรัฐบาล โดยทหารทั้งหมดมีสัญญลักษณ์ปลอกแขนสีเหลือง
เวลา 23.00 น.คณะนายทหารภายใต้การนำของ พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน ผู้บัญชาการทหารทุกเหล่าทัพ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ได้มอบหมายให้ พล.ต.ประพาส ศกุนตนา อ่านคำสั่งคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ฉบับที่ 1 ว่า ได้เข้าควบคุมสถานการณ์ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครไว้ได้หมดแล้ว และไม่ได้มีการขัดขวางจากฝ่ายทหารที่สนับสนุน พ.ต.อ.ทักษิณ ชินวัตร จึงขอประชาชนให้ความร่วมมือ และนับเป็นประกาศคณะปฏิวัติที่สุภาพที่สุดด้วย เมื่อมีท้ายแถลงการณ์ด้วยว่า "ขออภัยในความไม่สะดวกมา ณ ที่นี้ด้วย"
จากนั้นคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ได้ประกาศกฎอัยการศึกและยกเลิกคำสั่งประกาศภาวะฉุกเฉินของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร พร้อมเข้าเฝ้ากราบบังคมทูลรายงานสถานการณ์ต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน
ทั้งนี้มีรายงานว่า หลังจากที่ประชาชนทราบเหตุการณ์ว่า ทหารได้ทำรัฐประหารซ้อนยึดอำนาจจากรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เรียบร้อยแล้ว ประชาชนจำนวนมากได้ออกจากบ้านมาแสดงความยินดี เช่นเดียวกับประชาชนที่ใช้รถสัญจรผ่านไปมาตามเส้นทางที่มีรถถังตั้งอยู่ได้ ลงจากรถมาโบกมือ ไชโยโห่ร้องให้กับทหาร พร้อมทั้งขอถ่ายรูปไว้เป็นที่ระลึก โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวต่างชาตินั้นจะนิยมการถ่ายรูปคู่กับทหารเป็นอย่าง มาก ส่วนสถานการณ์ใกล้กับบ้านจันทร์ส่องหล้าของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร
ในช่วงนั้น ทั้งบริเวณปากซอยจรัญสนิทวงศ์ 69 และ 71 และรวมไปทั้งซอยจรัสลาภ ถนนสิรินธร มีทหารจาก ร.1 พัน 1 รอ.ประมาณ 30 นาย สวมชุดพรางอาวุธครบมือ พร้อมรถยีเอ็มซีจอดอยู่ ได้ตั้งจุดตรวจโดยมีเจ้าหน้าที่ตำรวจร่วมตรวจด้วยอีกซอยละ 2 นาย พร้อมกันไม่ให้ผู้สื่อข่าวเข้าไปด้านใน
จากนั้นคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ได้ออกมาแถลงการณ์ออกมาเป็นระยะๆ ถึงความจำเป็นในการเข้ายึดอำนาจเนื่องจากรัฐบาลพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ได้สร้างความแตกแยกขึ้นในบ้านเมือง มีการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างกว้างขวาง หน่วยงาน องค์กรอิสระ ถูกครอบงำทางการเมือง ไม่สามารถสนองตอบเจตนารมณ์ตามที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ทำให้การดำเนินกิจกรรมทางการเมืองเกิดปัญหาและอุปสรรคหลายประการ ตลอดจนหมิ่นเหม่ต่อการหมิ่นพระบรมเดชานุภาพแห่งองค์พระมหากษัตริย์ผู้ทรง เป็นที่เคารพเทิดทูนของปวงชนชาวไทยอยู่บ่อยครั้ง
นอกจากนั้นคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็น ประมุขได้ประกาศจะให้มีการปฏิรูปการเมืองเกิดขึ้นโดยเร็ว พร้อมเรียกร้องให้นิสิต นักศึกษา ปัญญาชน ซึ่งเป็นพลังบริสุทธิ์ ร่วมเสนอแนวทางการพัฒนาการเมืองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมายังสำนักงานเลขานุการกองทัพบก
แล้วมีการจัดตั้งรัฐบาล โดยมีพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี บริหารประเทศแล้วจัดให้มีการเลือกตั้ง
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2550 ปรากฏว่า
พรรคพลังประชาชน ที่มีนายสมัคร สุนทรเวช เป็นหัวหน้า แม้จะได้รับความนิยมอย่างมาก แต่ก็มีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 233 คน
พรรคประชาธิปัตย์ ที่มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นหัวหน้า ซึ่งมีจำนวน ส.ส.รวมทั้งระบบสัดส่วนและระบบเขตทั้งสิ้น 165 คน ประกาศอยู่ฝั่งตรงกันข้ามกับพรรคพลังประชาชน
พรรคชาติไทย ที่มีนายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นหัวหน้า มี ส.ส. 37 คน
พรรคเพื่อแผ่นดิน ที่มีนายสุวิทย์ คุณกิตติ เป็นหัวหน้า มีจำนวน ส.ส. 24 คน
พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา ที่มี พล.อ.เชษฐา ฐานะจาโร เป็นหัวหน้า มี ส.ส. 9 คน
พรรคมัชฌิมาธิปไตย ที่มีนายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ เป็นหัวหน้า มี ส.ส. 7 คน
พรรคประชาราช ที่มีนายเสนาะ เทียนทอง เป็นหัวหน้า ได้ ส.ส. 5 คน
พรรคพลังประชาชน ประกาศจัดตั้งรัฐบาลผสม ประกอบด้วย พรรคพลังประชาชน พรรคชาติไทย พรรคเพื่อแผ่นดิน พรรครวมใจ พรรคมัชฌิมาธิปไตยและพรรคประชาราช โดยมีนายสมัคร สุนทรเวช เป็น
นายกรัฐมนตรี ภาย หลังศาลรัฐธรรมนูญพิพากษานายสมัคร สุนทรเวช ว่ากระทำขัดต่อกฏหมายรัฐ
ธรรมนูญคดีจัดรายการชิมไปบ่นไป เป็นเหตุให้ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ รองนายกรัฐมนตรี ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี แต่ ถูกต่อต้านจากกลุ่มพันธมิตรเพื่อประชาธิปไตย ขณะเดียวกัน ศาลพิพากษายุบพรรคพลังประชาชน พรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตยแล้ว นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ พ้นจากการเป็นนายกรัฐมนตรี มีการย้ายพรรคของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ขณะเดียวกันสมาชิกของพรรคเพื่อไทยจากพรรคพลังประชาชนเดิม สนับสนุนให้พรรคประชาธิปัตย์จัดตั้งรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้เป็นนายกรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรี | |
1 | นายก้อน หุตะสิงห์ |
2 | นายพจน์ พหลโยธิน |
3 | จอมพลแปลก พิบูลสงคราม |
4 | นายควง อภัยวงศ์ |
5 | นายทวี บุณยเกตุ |
6 | มรว. เสนีย์ ปราโมช |
7 | นายปรีดี พนมยงค์ |
8 | พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ |
9 | นายพจน์ สารสิน |
10 | จอมพล ถนอม กิตติขจร |
11 | จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ |
12 | นายสัญญา ธรรมศักดิ์ |
13 | มรว. คึกฤทธิ์ ปราโมช |
14 | นายธานินทร์ กรัยวิเชียร |
15 | พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ |
16 | พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ |
17 | พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ |
18 | นายอานันท์ ปันยารชุน |
19 | พลเอกสุจิณดา คราประยูร |
20 | นายชวน หลีกภัย |
21 | นายบรรหาร ศิลปอาชา |
22 | พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ |
23 | พ.ต.ท. ทักษิณ ชิณวัตร |
24 | พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ |
25 | นาย สมัคร สุนทรเวช |
26 | นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ |
27 | นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ |
นาย ปรีดี พนมยงค์ ได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ครั้งที่ 3 เมื่อ 11 มิถุนายน 2489 ลาออกเมื่อ 21 สิงหาคม 2489 เนื่องจากสุขภาพเสื่อมโทรม | |
23 สิงหาคม 2489 พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี มีการเปลี่ยนชื่อพฤฒิสภาเป็นวุฒิสภา กำหนดให้สมาชิกวุฒิสภามาจากการแต่งตั้ง พ้นจากตำแหน่งเมื่อ 8 พฤศจิกายน 2490 เพราะทหารทำการรัฐประหาร การรัฐประหารในครั้งนี้คณะทหารให้เหตุผลว่า ทำเพื่อพระมหากษัตริย์ที่ถูกลอบปลงพระชนม์และเพื่อประชาชนชาวไทย | |
10 พฤศจิกายน 2490 นายควง อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรีครั้งที่ 3 เป็นเวลา 3 เดือน ลาออกเมื่อ 8 เมษายน 2491 เนื่องจากถูกรัฐประหาร | |
8 เมษายน 2491 จอมพล ผิน ชุณหะวัณ เชิญ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี นาน 10 ปี เกิดกบฏวังหลวง เมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2492 เกิดกบฏแมนฮัดตัน เมื่อ มิถุนายน 2494 | |
16 กันยายน 2500 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ทำการรัฐประหาร ยุบสภา 21 กันยายน 2500 นายพจน์ สารสิน เป็นนายกรัฐมนตรี ลาอกเมื่อ 26 ธันวาคม 2500 เพราะมีการเลือกตั้งทั่วไปภายหลังรัฐประหาร | |
1 มกราคม 2501 พลโท ถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี ลาออกเมื่อ 20 ตุลาคม 2501 เพื่อเปิดโอกาสให้จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ทำการปฏิวัติ | |
9 กุมภาพันธ์ 2502 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และถึงแก่อนิจกรรม ขณะดำรงตำแหน่ง เมื่อ 8 ธันวาคม 2506 | |
9 ธันวาคม 2506 พลเอกถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี ลาออกหลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับที่ 8 และสมาชิกชุดใหม่เข้ารับหน้าที่แล้ว ต่อมากลับเข้าดำรงตำแหน่งครั้งที่ 3 เมื่อ 7 มีนาคม 2512 และทำการปฏิวัติตัวเองเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2514 กลับเข้าดำรงตำแหน่งครั้งที่ 4 เมื่อ 18 ธันวาคม 2515 พ้นจากตำแหน่งเมื่อ 14 ตุลาคม 2516 เนื่องจากเหตุการณ์จราจล | |
14 ตุลาคม 2516 นายสัญญา ธรรมศักดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี พ้นจากตำแหน่ง เมื่อ 26 มกราคม 2518 เพราะมีการเลือกตั้งทั่วไป | |
พรรค ประชาธิปัตย์ได้คะแนนเสียงมากที่สุด ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช จึงจัดตั้งรัฐบาล แต่ไม่ได้รับความไว้วางใจเมื่อแถลงนโยบายต่อรัฐสภา | |
ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้รวบรวมสมาชิกพรรคอื่น จัดตั้งรัฐบาลผสม ซึ่งมีสมาชิกของพรรคกิจสังคมในสภาเพียง 18 เสียง 14 มีนาคม 2518 ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี มีการประท้วงและเรียกร้อง ของกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ มากมาย เกิดการขัดแย้งกันในคณะรัฐบาล นายกรัฐมนตรีจึงประกาศ ยุบสภาให้มีการเลือกตั้งใหม่ในเดือนเมษายน 2519 | |
21 มีนาคม 2519 ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี | |
6 ตุลาคม 2519 คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ทำการปฏิวัติ มีพลเรือเอกสงัด ชลออยู่เป็นหัวหน้า 22 ตุลาคม 2519 นายธานินทร์ กรัยวิเชียร เป็นนายกรัฐมนตรี รัฐบาลดำเนินนโยบายเข้มงวด ควบคุมความคิดเสรีนิยม มีการนำรูปแบบเผด็จการมาใช้อีก กลุ่มปัญญาชนหนีเข้าป่ามากขึ้น ทำให้สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยมีจำนวนมากขึ้น มีนาคม 2520 กบฎ 26 มีนาคม โดยพลเอกฉลาด หิรัญศิริ | |
20 ตุลาคม 2520 พลเรือเอกสงัด ชลออยู่ รัฐประหารอีกครั้งและประกาศให้พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ เมื่อ 22 เมษายน 2522 ในเดือนพฤษภาคม 2522 พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยที่ 2 ต่อมาลาออกเพราะประสบปัญหาน้ำมัน ในตลาดโลกมีราคาแพงส่งผลกระทบให้สินค้ามีราคาสูงขึ้น ค่าครองชีพสูง รัฐบาลไม่สามารถแก้ปัญหาได้ จึงลาออก เดือน มีนาคม 2523 | |
เดือน มีนาคม 2523 พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ได้รับการสนับสนุนจากพรรคการเมือง และฝ่ายทหาร ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นาน 8 ปี เศรษฐกิจไทยเจริญก้าวหน้ามีการลงทุนทำธุรกิจ ในประเทศไทยเพิ่มขึ้น ทำให้เงินตราจากต่างประเทศหลั่งไหลเข้าสู่ประเทศมากขึ้น 1 เมษายน 2524 “กบฎ 1 เมษา” โดยพลเอกสัณห์ จิตรปฏิมา 9 กันยายน 2528 “กบฎ 9 กันยา” | |
การเลือกตั้ง ในปี 2531 พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 23 กุมภาพันธ์ 2534 สภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ รสช. ทำการปฏิวัติ โดยมีพลเอกสุนทร คงสมพงษ์เป็นหัวหน้าและมอบหมายให้นายอานันท์ ปัญญาชุน เป็นนายกรัฐมนตรีบริหารประเทศชั่วคราวและจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ | |
22 มีนาคม 2535 มีการเลือกตั้งทั่วไป พรรคที่ได้เสียงข้างมากสนับสนุนให้ พลเอกสุจินดา คราประยูร เป็นนายกรัฐมนตรี สร้างความไม่พอใจให้แก่นิสิต นักศึกษา ประชาชนทั่วไป เพราะพลเอกสุจินดา คราประยูร เป็นบุคคลที่รวมอยู่ในคณะรัฐประหารของ สภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ จึงมีการเดินประท้วงคัดค้านอันนำไปสู่เหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ ระหว่างวันที่ 17-19 พฤษภาคม 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพล อดุลยเดช ได้ขอร้องให้ทุกฝ่ายยุติความขัดแย้งกัน หลังจากนั้น พลเอกสุจินดา คราประยูร ได้ลาออก | |
ประธานรัฐสภาได้เสนอชื่อนายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง และจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ | |
13 กันยายน 2535 พรรคประชาธิปัตย์ได้เสียงข้างมาก นายชวนหลีกภัยได้เป็นนายกรัฐมนตรี บริหารประเทศได้ 2 ปี ก็เกิดกรณีการจัดสรรที่ดินทำกินแก่ราษฎร และการถอนตัวของพรรคร่วมรัฐบาล ทำให้รัฐบาลประกาศยุบสภา | |
กรกฎาคม พ.ศ. 2538 มีการเลือกตั้งใหม่ นายบรรหาร ศิลปอาชาได้เป็นนายกรัฐมนตรี เกิดการขัด แย้งในพรรคร่วมรัฐบาล นายกประกาศยุบสภา | |
พฤศจิกายน 2539 มีการเลือกตั้งใหม่ พรรคความหวังใหม่ได้รับชัยชนะ พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ได้เป็นนายกรัฐมนตรี ประสบปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำอย่างหนัก จึงประกาศลาออก พฤศจิกายน 2540 นายชวน หลีกภัย หัวหน้าฝ่ายค้านขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จนหมดวาระ | |
มกราคม 2544 มีการเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ พรรคไทยรักไทยได้คะแนนเสียงมากที่สุด พต.ท ทักษิณ ชินวัตร ได้เป็นนายกรัฐมนตรี | |
พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน ทำการปฏิวัติ เมื่อ19 กันยายน 2549 แล้วมีการจัดตั้งรัฐบาล โดยมีพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี จัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ | |
เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2550 ปรากฏว่า พรรคพลังประชาชน ได้เสียงข้างมาก นายสมัคร สุนทรเวช ได้เป็นนายกรัฐมนตรี ภาย หลังศาลรัฐธรรมนูญพิพากษานายสมัคร สุนทรเวช ว่ากระทำขัดต่อกฏหมายรัฐธรรมนูญคดีจัดรายการชิมไปบ่นไป เป็นเหตุให้ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี | |
นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ รองนายกรัฐมนตรี ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี แต่ ถูกต่อต้านจากกลุ่มพันธมิตรเพื่อประชาธิปไตย ขณะเดียวกัน ศาลพิพากษายุบพรรคพลังประชาชน พรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตยแล้ว นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ พ้นจากการเป็นนายกรัฐมนตรี มีการย้ายพรรคของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ขณะเดียวกันสมาชิกของพรรคเพื่อไทย จากพรรคพลังประชาชนเดิม สนับสนุนให้พรรคประชาธิปัตย์จัดตั้งรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้เป็นนายกรัฐมนตรี | |
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้เป็นนายกรัฐมนตรี |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น